1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behaviorism)
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 ได้กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่านักคิดในกลุ่มนี้มองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่เป็นกลางคือไม่ดี – ไม่เลวการกระทำต่างของมนุษย์เกิดจาก
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอกพฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า(stimulusresponse) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองกลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับพฤติกรรมมากเพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดสามารถวัดและทดสอบได้ทฤษฏีการเรียนรู้ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วยแนวคิดสำคัญๆ 3 แนวด้วยกัน คือ
- ทฤษฎีการเชื่อมโยง
- ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
- ทฤษฏีการเรียนรู้ของฮัลล์
http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Behavioral_Learning_Theories.htm ได้กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมเน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulas) และ การตอบสนอง (Response) โดยอินทรีย์จะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและ การตอบสนองอันนำไปสู่ ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม คือการเรียนรู้นั่นเอง ผู้นำที่สำคัญของ กลุ่มนี้ คือ พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) ธอร์นไดร์ (Edward Thorndike) และสกินเนอร์ (B.F.Skinner) ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552:18) ได้กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่าไว้ว่า
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 ได้กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่านักคิดในกลุ่มนี้มองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่เป็นกลางคือไม่ดี – ไม่เลวการกระทำต่างของมนุษย์เกิดจาก
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอกพฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า(stimulusresponse) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองกลุ่มพฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับพฤติกรรมมากเพราะพฤติกรรมเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัดสามารถวัดและทดสอบได้ทฤษฏีการเรียนรู้ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วยแนวคิดสำคัญๆ 3 แนวด้วยกัน คือ
- ทฤษฎีการเชื่อมโยง
- ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
- ทฤษฏีการเรียนรู้ของฮัลล์
http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Behavioral_Learning_Theories.htm ได้กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมเน้นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulas) และ การตอบสนอง (Response) โดยอินทรีย์จะต้องสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าและ การตอบสนองอันนำไปสู่ ความสามารถในการแสดงพฤติกรรม คือการเรียนรู้นั่นเอง ผู้นำที่สำคัญของ กลุ่มนี้ คือ พาฟลอฟ (Ivan Pavlov) ธอร์นไดร์ (Edward Thorndike) และสกินเนอร์ (B.F.Skinner) ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552:18) ได้กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่าไว้ว่า
ทฤษฏีการเรียนรู้ของฮัลล์ (Hull’s Systematic Behavior Theory) มีความเชื่อว่าถ้าร่างกายเมื่อยล้า การเรียนรู้จะลดลง การตอบสนองต่อการเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีที่สุดเมื่อได้รับแรงเสริมในเวลาใกล้บรรลุเป้าหมาย หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึงมักคำนึงถึงความพร้อม ความสามารถและเวลาที่ผู้เรียนจะเรียนได้ดีที่สุด การจัดการเรียนการสอนควรให้ทางเลือกที่หลากหลายเพื่อตอบสนองระดับความสามารถของผู้เรียน
http://dontong52.blogspot.com ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า นัก คิดกลุ่มนี้มองธรรมชาติ ของมนุษย์ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี ไม่เลว การกระทำต่าง ๆ ของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองประกอบด้วย
เอกสารอ้างอิง
URL: http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2554
URL: http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Behavioral_Learning_Theories.htm เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2554
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์.(2552).80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น กรุงเทพฯ.
URL: http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2554
URL: http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Behavioral_Learning_Theories.htm เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2554
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์.(2552).80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น กรุงเทพฯ.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น